มาดูว่าโรงพยาบาลกลางมหาวิทยาลัยเฮลซิงกิใช้วิธีใดในการพัฒนาโมเดลเฮลซิงกิเพื่อลดความล่าช้าในการสลายลิ่มเลือดให้เหลือเพียง 20 นาทีหรือน้อยกว่าได้สำเร็จ และขั้นตอนใดที่คุณสามารถนำมาใช้ได้เพื่อลดระยะเวลานับตั้งแต่ผู้ป่วยมาถึงโรงพยาบาลจนได้รับยาละลายลิ่มเลือด (door to needle time, DTN) ในการสัมภาษณ์เชิงลึกกับ Atte Meretoja คุณจะได้พบกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและประสบการณ์อันท้าทายในเฮลซิงกิ และสิ่งที่ทีมของโรงพยาบาลรอยัลเมลเบิร์นได้เรียนรู้ เมื่อพวกเขาตัดสินใจจำลองแบบโมเดลนี้ในปี 2012 ในคู่มือแบบทีละขั้นตอนนี้ คุณจะได้พบกับวิธีการประเมินว่ามีจุดติดขัดอยู่ที่ใดบ้างในโรงพยาบาลของคุณ วิธีที่จะทำให้เพื่อนร่วมงานของคุณเข้าร่วมด้วยกับวิธีการใหม่นี้ และการเปลี่ยนแปลงอย่างง่าย ๆ ที่จะทำให้โรงพยาบาลของคุณลดเวลา DTN ได้สำเร็จ

mod1
โมดูลที่ 1
ขั้นตอนที่ต้องทำ
mod2
โมดูลที่ 2
ความท้าทาย
mod3
โมดูลที่ 3
โครงการเมลเบิร์น
mod4
โมดูลที่ 4
เริ่มต้นจากศูนย์
mod5
โมดูลที่ 5
เป้าหมาย
mod6
โมดูลที่ 6
ต้นทุนการดำเนินการ
mod7
โมดูลที่ 7
ใช้เวลาขนย้ายให้ดีที่สุด
mod8
โมดูลที่ 8
การทำงานในห้องถ่ายภาพ
mod9
โมดูลที่ 9
การได้รับการยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษร
mod10
โมดูลที่ 10
บทบาทการทำงานของเจ้าหน้าที่พยาบาล
mod11
โมดูลที่ 11
การวัดผลการดำเนินงาน
mod12
โมดูลที่ 12
ทีมโรคหลอดเลือดสมอง
mod13
โมดูลที่ 13
เร่งรีบเพื่อผู้ป่วยทุกคน
mod14
โมดูลที่ 14
การเตรียมรับมือผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
mod15
โมดูลที่ 15
การดำเนินงานแบบคู่ขนาน
mod16
โมดูลที่ 16
จุดตรวจผู้ป่วย
mod17
โมดูลที่ 17
การตรวจอาการโดยแพทย์
mod18
โมดูลที่ 18
การถ่ายภาพ CT
mod19
โมดูลที่ 19
การรักษาผ่านสายสวนหลอดเลือด
mod20
โมดูลที่ 20
โปรโตคอลการรักษา
mod21
โมดูลที่ 21
เตรียมล่วงหน้าหรือไม่เตรียมล่วงหน้า
mod22
โมดูลที่ 22
ผู้ป่วยมีอาการโรคหลอดเลือดสมองตั้งแต่ตื่นนอน
mod23
โมดูลที่ 23
การเพิ่มประสิทธิภาพและการวินิจฉัยผิด
mod24
โมดูลที่ 24
การศึกษาผู้ป่วย